วันพุธที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

กฎของ Moore's law


Moore'law คืออะไร 

     กฎของมัวร์ (Mooer' low) คือ กฎที่อธิบายแนวโน้มของการพัฒนาฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์ในระยะยาวมีความว่าจำนวนทรานซิสเตอร์ที่สามารถบรรจุลงในชิพจะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าในทุกๆสองปี
    
     กอร์ ดอน มัวร์ เป็นผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทอินเทล ได้ใช้หลักการสังเกตตั้งกฎของมัวร์ (Moore’s law) ขึ้นซึ่งเขาบันทึกไว้ว่าปริมาณของทรานซิสเตอร์บนวงจรรวม
       






 กฎของมัวร์

       ทฤษฎีของมัวร์ได้กล่าวไว้ว่า ความก้าหน้าของเทคโนโลยีและความซับซ้อนของเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ทำให้สามารถผลิตไอซีที่มีความหนาแน่นได้เป็นสองเท่าทุกๆช่วงระยะเวลาหนึ่ง นอกจากนี้ความก้าวหน้าอื่นๆ อีกหลายอย่างก็เป็นไปตามกฎของมัวร์

       การสร้างทรานซิสเตอร์ มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง บริษัท แฟร์ซายด์ เซมิคอนดัคเตอร์ เป็นบริษัทแรกที่เริ่มใช้เทคโนโลยีการผลิตทรานซิสเตอร์แบบ planar หรือเจือสารเข้าทางแนวราบ เทคโนโลยีนี้เป็นต้นแบบของการสร้างไอซีในเวลาต่อมา จากหลักฐานที่กล่าวอ้างไว้พบว่า บริษัท แฟร์ซายด์ ได้ผลิตพลาน่าทรานซิสเตอร์ตั้งแต่ประมาณปี พ.ส. 2502 และบริษัทแท็กซัสอินสตรูเมนต์ได้ผลิตไอซีได้ในเวลาต่อมา และกอร์ดอนมัวร์ก็ได้กล่าวไว้ว่า จุดเริ่มต้นของกฎของมัวร์เริ่มต้นจากการเริ่มมีพลาน่าทรานซิสเตอร์

        คำว่า "กฎของมัวร์" นั้นถูกเรียกโดยศาสตรจารย์ Caltech นามว่า Carver Mead ซึ่งกล่าวว่า จำนวนทรานซิสเตอร์จะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าในทุกๆหนึ่งปี ในช่วง 1965 ต่อมามัวร์จึงได้เปลี่ยนรูปกฎเพิ่มขึ้นสองเท่าในทุกๆสองปี ในปี 1975 




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น